ทำไมสเตนเลส เกรด 439 แม่เหล็กจึงดูดติด หลายคนยังไม่รู้ว่าสเตนเลสทุกชนิด จะมีธาตุโลหะโดยส่วนผสมหลักคือเหล็ก (Fe)และ
โครเมี่ยม ต่อเมื่อมีการผสม ธาตุนิเกิล หรือแมงกานิสลงไปก็จะทำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน ทำให้ไม่มีผล ต่อปฏิกิริยา จากแม่เหล็กการ (เติมนิเกิลทำให้สเตนเลสมีราคาแพง จึงเปลี่ยนมาเติม แมงกานิสแทนเพราะถูกกว่า แต่จะสร้างปัญหาในการป้องกันสนิม) แต่เกรด 439 จะไม่ได้เติมทั้งนิเกิลและแมงกานิสมีเฉพาะโครเมี่ยมกับไททาเนียม ซึ่งเติมลงไป 0.3-0.6% เพื่อเพิ่มความสามารถใน ขบวนการเชื่อม ซึ่งจะมีปัญหามากในเกรด 430 ซึ่งประกอบด้วยธาตุผสมโครเมี่ยมเป็นหลัก
แล้วทำไมจึงกล่าวว่าสเตนเลส 439 คือทางเลือกใหม่ของผู้นิยมใช้สเตนเลส เพราะว่าการใช้งานเทียบเท่าสเตนเลสเกรดอื่น ๆ ที่ใช้สำหรับ
ภายใน ( in door ) แต่ราคาถูกกว่าสเตนเลสที่ใช้ภายในด้วยกัน เช่น
สเตนเลสตระกูล 200 หรืออื่น ๆ ที่ผสมแมงกานิสเป็นธาตุผสมหลัก
ตาราส่วนผสมระหว่าง สเตนเลส เกรด 439 และเกรด 200 และ 204Cu |
|||||
เกรด |
โครเมี่ยม |
แมงกานิส |
นิเกิล |
ไททาเนียม |
ทองแดง |
201 |
16.0 |
5.0 |
2.0 |
0 |
0 |
204Cu |
16.0 |
5.0 |
2.0 |
0 |
3.0 |
439 |
18.5 |
0.5 (max) |
0.5 |
0.3-0.5 |
0 |
** การดัดท่อ 439 กรณีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 1" ให้รอยเชื่อมอยู่ด้านโค้งในเพื่อป้องกันการปริของรอยเชื่อม |
SPEC |
C |
Si |
Mn |
P |
S |
Ni |
Cr |
Cu |
|
430 |
< 0.12 |
< 0.75 |
< 1.00 |
< 0.040 |
< 0.030 |
- |
16.0-18.0 |
1.5-3.5 |
|
|
< 0.12 |
< 1.00 |
5.0-7.0 |
< 0.045 |
< 0.030 |
2.0-4.0 |
16.0-18.0 |
1.5-3.5 |
|
204Cu |
< 0.12 |
< 1.00 |
5.0-7.0 |
< 0.045 |
< 0.030 |
1.0-5.3 |
15.5-17.0 |
2.0-3.5 |
ทุกวันนี้หลาย ๆ ท่านคง จะมีประสบการณ์มาแล้วในการซื้อสเตนเลสมาใช้แล้วประสพปัญหาว่าจ่ายแพง ในคารา เกรด 304 แต่กลับได้ เกรด 201 หรือ เกรด 202 หรือ เกรด 204 Cu ( คือ เกรด 201 Modified ) แต่ถ้าเป็น เกรด 439 ( เกรดไท ) แล้วก็ไม่ต้องกลัวมีที่ เกรทเซ็นทรัล แห่งเดียวไม่โดน หลอกแน่นอน
คำคม " จะจ่ายแพงกว่าทำไม 439 ( เกรทไท) ช่วยเราประหยัดได้" ติดต่อสอบถามได้ที่ บริษัท ธนาแสงชัยสเตนเลส จำกัด โทรศัพท์ 044-255145, 044-272448 กรุงเทพโทร 02-7494600 Website: www.thanasang.com |
เก็บมาฝากสำหรับช่างเมื่อจะปัดเงา สเตนเลสเกรด 439
ขั้นตอนการปัดเงา :
1. เตรียมชิ้นงานขั้นต้นโดยการขัดให้ผิวงานเรียบ อย่าให้ผิวหยาบ
จนเกินไป เพราะผิวของ สเตนเลส 439 ได้ขัดมาจากโรงงานแล้วระดับ
หนึ่ง ซึ่งจะต้องมาเก็บความละเอียดอีกครั้งหลังจากประกอบชิ้นงานเสร็จ
แล้ว บริเวณรอยเชื่อมให้ล้างด้วยน้ำยาล้างสเตนเลสตามด้วย น้ำสบู่หรือน้ำธรรมดา เพื่อล้างน้ำยาตกค้างบนผิวเพราะจะเป็นตัวทำให้เกิดสนิม
2. เจียรรอยเชื่อมด้วยใบเจียรเบอร์ 60 ต่อด้วยใบเจียรทรายเบอร์ 180 และ 240 ระวังในการขัด เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้ขัดส่วนมาก จะทำด้วยเหล็ก เมื่อเกิดการกระแทกหรือสัมผัสกับสเตนเลสจะทำให้เกิดสนิมได้
เพราะสาเหตุมาจากเศษสะเก็ดของเหล็ก จะเข้าไป ฝังในรอยตำหนินั้น ๆ
แนะนำให้เปลี่ยนชิ้นส่วนบ่างชิ้นของเครื่องขัดให้เป็นสเตนเลสเหมือนกัน
3. ใช้ลูกทรายเบอร์ 180 หรือ สก๊อตไบร์กับนำยาตีเงาแดง กับรอยเชื่อมและรอยเจียรรวมถึงบนชิ้นงานทั่วไป เพื่อจะทำให้ เกิดความ เงากลมกลืนกัน
4. ลงตามด้วยน้ำยาเขียว โดยใช้ลูกปอ (ผ้ายีนส์) หรือ ลูกผ้าสักหลาดกับ ชิ้นงาน เพื่อให้เกิดความเงาเท่ากันทั้งหมดทั้งชิ้นงานสำคัญ ทุกขั้นตอนการปัดเงาจะต้องใช้อุปกรณ์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน
5. ใช้แป้งมันสำปะหลังลูปบนชิ้นงานที่ปัดเงา เพื่อเอาคราบน้ำยาออก
<<< ข้อมูลเกี่ยวกับสเตนเลส เกรด 439